การเดาคำศัพท์จากคำเชื่อมที่บอกคำจำกัดความ
"คำเชื่อม"
(linking words / signal words / transitional words / discourse markers) คือ คำประเภท adverb,
conjunctive adverb, conjunction หรือ subordinate
conjunction ฯลฯ ทำหน้าที่เชื่อข้อความสองข้อความเข้าด้วยกัน ซึ่งอาจจะเป็นข้อความที่คล้อยตามกัน
เป็นเหตุเป็นผลกัน ขัดแย้งกัน หรือชนิดอื่นใดก็ได้
ข้อความแต่ละชนิดจะมีคำเชื่อมแต่ละประเภทแตกต่างกันไป เช่น ข้อความที่คล้อยตามกันจะมี
คำเชื่อมประเภทหนึ่ง เช่น and as well as ฯลฯ ข้อความที่เป็นเหตุเป็นผลกันจะมีคำเชื่อมประเภท
because, due to ฯลฯ ส่วนข้อความที่ขัดแย้งกันจะมีคำเชื่อมอีกประเภท
ได้แก่ but, though เป็นต้น คำเชื่อม เหล่านี้เองที่จะเป็นตัวช่วยชี้ว่า
ทั้งสองข้อความกำลังจะดำเนินไปในแนวไหนมีความสัมพันธ์กันอย่างไร และความสัมพันธ์ของข้อความในประโยคนี้เองที่จะเป็นตัวช่วยให้เดาความหมายของคำศัพท์ตัวที่ไม่ทราบความหมายได้
เมื่อผู้เขียนใช้ศัพท์ยากหรือศัพท์เฉพาะ หรือคำที่ไม่แน่ใจว่าผู้อ่าน จะเข้าใจตรงกัน ผู้เขียนจะให้คำจำกัดความไว้โดยมีตัวแนะ (clues) ซึ่งอาจจะเป็นคำเชื่อมเป็นเครื่องชี้แนะว่าผู้เขียนกำลังจะให้คำจำกัดความ หรือความหมายของคำนั้น ๆ ไว้
เมื่อผู้เขียนใช้ศัพท์ยากหรือศัพท์เฉพาะ หรือคำที่ไม่แน่ใจว่าผู้อ่าน จะเข้าใจตรงกัน ผู้เขียนจะให้คำจำกัดความไว้โดยมีตัวแนะ (clues) ซึ่งอาจจะเป็นคำเชื่อมเป็นเครื่องชี้แนะว่าผู้เขียนกำลังจะให้คำจำกัดความ หรือความหมายของคำนั้น ๆ ไว้
ตัวอย่างคำเชื่อมหรือคำชี้แนะที่บอกคำจำกัดความหรือนิยาม
เช่น
to be to be known as
to be called to be refered to as
to be defined as to mean
to refer to to be described as
to be to be known as
to be called to be refered to as
to be defined as to mean
to refer to to be described as
เมื่อเห็นคำเหล่านี้
ผู้อ่านจะทราบได้ทันทีว่าคำหรือข้อความที่ตามมาจะมีความหมาย
เหมือนกับหรือใกล้เคียงกับข้อความที่นำมาข้างหน้า
เหมือนกับหรือใกล้เคียงกับข้อความที่นำมาข้างหน้า
ตัวอย่างที่ 1 A. body of water
surrounded by land is usually called a lake.
สมมุติว่าคำที่ไม่ทราบความหมายคือ คำว่า lake ให้สังเกตคำชี้แนะ (clue) คือ คำว่าto be called ข้อความที่มาข้างหน้าตัวแนะได้แก่ a body of water surrounded by land ข้อความนี้จะมีความหมายใกล้เคียงกับสิ่งที่ตามมาข้างหลังคำชี้แนะ ซึ่งได้แก่คำว่า a lake ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า a lake คือ a body of water surrounded by land คือ แหล่งน้ำที่ถูกล้อมรอบด้วยฝืนดินนั่นเอง
สมมุติว่าคำที่ไม่ทราบความหมายคือ คำว่า lake ให้สังเกตคำชี้แนะ (clue) คือ คำว่าto be called ข้อความที่มาข้างหน้าตัวแนะได้แก่ a body of water surrounded by land ข้อความนี้จะมีความหมายใกล้เคียงกับสิ่งที่ตามมาข้างหลังคำชี้แนะ ซึ่งได้แก่คำว่า a lake ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า a lake คือ a body of water surrounded by land คือ แหล่งน้ำที่ถูกล้อมรอบด้วยฝืนดินนั่นเอง
ตัวอย่างที่ 2 Ecology is usually defined
as the study of the
interactions between organisms and their environment.
ในประโยคนี้เราจะสังเกตเห็นคำชี้แนะ (clue) คือ to be defined as คำที่ต้องการทราบความหมายคือ Ecology ทำให้เดาได้ว่าจะต้องมีความหมายเหมือนกับข้อความที่ตามหลังคำชี้แนะคือ the study of the interactions between organisms and their environment ซึ่งแปลว่า วิชาที่กล่าวถึงปฏิกริยา ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสภาพแวดล้อมของมัน
ตัวอย่างที่ 3 Recycling is known as the reprocessing of used materials for reuse.
จากประโยคนี้จะเห็นคำชี้แนะ คือ to be knows as คำที่มาข้างหน้าคือ recyling ซึ่งเป็นคำที่ต้องการทราบความหมาย และจะเห็นได้ว่าความหมายของมันจะอยู่ข้างหลังคำชี้แนะซึ่งได้แก่ข้อความที่ว่า the reprocessing of used materials for reuse ดังนั้นจึงเดาได้ว่า recycling จะมีความหมายเหมือนกับข้อความที่ตามหลังมาคือ ขบวนการนำสิ่งที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่อีกครั้งหนึ่ง
interactions between organisms and their environment.
ในประโยคนี้เราจะสังเกตเห็นคำชี้แนะ (clue) คือ to be defined as คำที่ต้องการทราบความหมายคือ Ecology ทำให้เดาได้ว่าจะต้องมีความหมายเหมือนกับข้อความที่ตามหลังคำชี้แนะคือ the study of the interactions between organisms and their environment ซึ่งแปลว่า วิชาที่กล่าวถึงปฏิกริยา ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสภาพแวดล้อมของมัน
ตัวอย่างที่ 3 Recycling is known as the reprocessing of used materials for reuse.
จากประโยคนี้จะเห็นคำชี้แนะ คือ to be knows as คำที่มาข้างหน้าคือ recyling ซึ่งเป็นคำที่ต้องการทราบความหมาย และจะเห็นได้ว่าความหมายของมันจะอยู่ข้างหลังคำชี้แนะซึ่งได้แก่ข้อความที่ว่า the reprocessing of used materials for reuse ดังนั้นจึงเดาได้ว่า recycling จะมีความหมายเหมือนกับข้อความที่ตามหลังมาคือ ขบวนการนำสิ่งที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่อีกครั้งหนึ่ง
การเดาคำศัพท์จากเครื่องหมายวรรคตอน (Puntuation)
เครื่องหมายวรรคตอน
(Punctuation) ในภาษาอังกฤษเป็นสิ่งจำเป็นมาก
เพราะทำหน้าที่ทางไวยากรณ์ เช่น เครื่องหมาย . (full stop หรือ
period) ใช้แสดงการจบประโยคเครื่องหมาย ? (question
mark) ใช้แสดงว่าเป็นประโยคคำถาม เครื่องหมาย , (comma)ใช้แยกข้อความ เป็นต้น
เครื่องหมายเหล่านี้นอกจากจะทำหน้าที่ต่าง ๆ ดังกล่าวแล้ว ยังใช้สื่อความหมายและช่วยในการเดาความหมายของคำศัพท์ได้ด้วย เครื่องหมายที่สำคัญที่ควรสนใจมีดังต่อไปนี้
1. เครื่องหมาย , (comma)
comma ใช้แบ่งข้อความในประโยค และจะสื่อความหมายว่า คำหรือข้อความที่อยู่หลังเครื่องหมายนี้จะมีความหมายเท่ากับ คำหรือข้อความที่อยู่ข้างหน้าเครื่องหมายcomma มักเรียกว่า appositive คือ คำนามที่ใส่ซ้อนคำนาม และจะหมายถึงคนเดียวกันหรือกล่าวถึงสิ่งเดียวกัน และบางครั้งอาจจะอธิบายขยายความคำที่มาข้างหน้าก็ได้
เครื่องหมายเหล่านี้นอกจากจะทำหน้าที่ต่าง ๆ ดังกล่าวแล้ว ยังใช้สื่อความหมายและช่วยในการเดาความหมายของคำศัพท์ได้ด้วย เครื่องหมายที่สำคัญที่ควรสนใจมีดังต่อไปนี้
1. เครื่องหมาย , (comma)
comma ใช้แบ่งข้อความในประโยค และจะสื่อความหมายว่า คำหรือข้อความที่อยู่หลังเครื่องหมายนี้จะมีความหมายเท่ากับ คำหรือข้อความที่อยู่ข้างหน้าเครื่องหมายcomma มักเรียกว่า appositive คือ คำนามที่ใส่ซ้อนคำนาม และจะหมายถึงคนเดียวกันหรือกล่าวถึงสิ่งเดียวกัน และบางครั้งอาจจะอธิบายขยายความคำที่มาข้างหน้าก็ได้
ตัวอย่าง
Deglutition, or swallowing, moves food from the mouth to the stomach.
ประโยคนี้ข้อความที่ตามหลังเครื่องหมาย , (comma) จะอธิบายคำที่มาข้างหน้าคือ deglutition ว่ามีความหมายเดียวกัน swallowing สำหรับประโยคนี้อาจสังเกตตัวชี้แนะ ",or" ร่วมด้วยก็ได้ว่า คำที่มาข้างหน้า ",or" จะมีความหมายใกล้เคียงกับคำที่ตามหลังมา ดังนั้นสรุปว่า deglutition คือ swallowing (กลืน) นั่นเอง
Deglutition, or swallowing, moves food from the mouth to the stomach.
ประโยคนี้ข้อความที่ตามหลังเครื่องหมาย , (comma) จะอธิบายคำที่มาข้างหน้าคือ deglutition ว่ามีความหมายเดียวกัน swallowing สำหรับประโยคนี้อาจสังเกตตัวชี้แนะ ",or" ร่วมด้วยก็ได้ว่า คำที่มาข้างหน้า ",or" จะมีความหมายใกล้เคียงกับคำที่ตามหลังมา ดังนั้นสรุปว่า deglutition คือ swallowing (กลืน) นั่นเอง
2. เครื่องหมาย - (dash)
การใส่เครื่องหมาย - (dash) จะสื่อความหมายว่า คำหรือข้อความที่อยู่หลังเครื่องหมายนี้ มีความหมายใกล้เคียงหรือเท่ากับข้อความที่มาข้างหน้า และบางครั้งข้อความหรือคำข้างหลังนี้อาจเป็นการอธิบายขยายความ โดยการให้ตัวอย่างหรือรายละเอียดเกี่ยวกับคำหรือข้อความที่มาข้างหน้า
การใส่เครื่องหมาย - (dash) จะสื่อความหมายว่า คำหรือข้อความที่อยู่หลังเครื่องหมายนี้ มีความหมายใกล้เคียงหรือเท่ากับข้อความที่มาข้างหน้า และบางครั้งข้อความหรือคำข้างหลังนี้อาจเป็นการอธิบายขยายความ โดยการให้ตัวอย่างหรือรายละเอียดเกี่ยวกับคำหรือข้อความที่มาข้างหน้า
ตัวอย่าง
Are you averse -- opposed -- to the court decision ?
ประโยคนี้คำที่ตามหลังเครื่องหมาย - (dash) จะอธิบายคำที่มาจากข้างหน้า คือ averse ดังนั้น averse คือ opposed ซึ่งมีความหมายต่อด้านตรงข้าม นั่นเอง
3. เครื่องหมาย : (colon)
ข้อความที่ตามหลัง (colon จะให้รายละเอียดเกี่ยวกับคำหรือข้อความข้างหน้า ดังนั้นทั้งสองข้อความจะมีความหมายใกล้เคียงหรือความหมายเดียวกัน
Are you averse -- opposed -- to the court decision ?
ประโยคนี้คำที่ตามหลังเครื่องหมาย - (dash) จะอธิบายคำที่มาจากข้างหน้า คือ averse ดังนั้น averse คือ opposed ซึ่งมีความหมายต่อด้านตรงข้าม นั่นเอง
3. เครื่องหมาย : (colon)
ข้อความที่ตามหลัง (colon จะให้รายละเอียดเกี่ยวกับคำหรือข้อความข้างหน้า ดังนั้นทั้งสองข้อความจะมีความหมายใกล้เคียงหรือความหมายเดียวกัน
ตัวอย่าง
Cleaning up waterways is an enomous task: the job is so large, in fact, that the
government may not be able to save some of the rivers and lakes which have been polluted.
ประโยคนี้เมื่อเห็นเครื่องหมาย : (colon) ผู้อ่านจะทราบความสัมพันธ์ของทั้งสองข้อความทันทีว่า สิ่งที่มาข้างหน้าจะมีความหมายใกล้เคียง หรือเท่ากับสิ่งที่ตามมาข้างหลัง ดังนั้น enormous task ก็คือ the job (that) is so large (งานใหญ่) นั่นเอง
4. เครื่องหมาย ; (semi - colon)
ข้อความที่ตามมาข้างหลัง ; (semi - colon) จะอธิบายและมีความหมายในทำนองดียวกับข้อความที่อยู่ข้างหน้า ดังนั้นเมื่อพบศัพท์ที่ไม่คุ้นเคยในข้อความในข้อความหนึ่งจะสามารถเดาความหมายของคำนั้นได้โดยดูจากอีกข้อความช่วยกัน
Cleaning up waterways is an enomous task: the job is so large, in fact, that the
government may not be able to save some of the rivers and lakes which have been polluted.
ประโยคนี้เมื่อเห็นเครื่องหมาย : (colon) ผู้อ่านจะทราบความสัมพันธ์ของทั้งสองข้อความทันทีว่า สิ่งที่มาข้างหน้าจะมีความหมายใกล้เคียง หรือเท่ากับสิ่งที่ตามมาข้างหลัง ดังนั้น enormous task ก็คือ the job (that) is so large (งานใหญ่) นั่นเอง
4. เครื่องหมาย ; (semi - colon)
ข้อความที่ตามมาข้างหลัง ; (semi - colon) จะอธิบายและมีความหมายในทำนองดียวกับข้อความที่อยู่ข้างหน้า ดังนั้นเมื่อพบศัพท์ที่ไม่คุ้นเคยในข้อความในข้อความหนึ่งจะสามารถเดาความหมายของคำนั้นได้โดยดูจากอีกข้อความช่วยกัน
ตัวอย่าง
Catching crooks with pilfered items is indeed difficult; thieves do not oftern
hold on to the stolen goods.
คำว่า pilfered ในข้อความแรก จะมีความหมายใกล้เคียงกับคำในข้อความข้างหลัง pilfered ก็ควรมีความหมายเหมือนกัน stolen goods (ของที่ขโมยมา) นั่นเอง ดังนั้น สรุปได้ว่า pilfered คือ stolen
Catching crooks with pilfered items is indeed difficult; thieves do not oftern
hold on to the stolen goods.
คำว่า pilfered ในข้อความแรก จะมีความหมายใกล้เคียงกับคำในข้อความข้างหลัง pilfered ก็ควรมีความหมายเหมือนกัน stolen goods (ของที่ขโมยมา) นั่นเอง ดังนั้น สรุปได้ว่า pilfered คือ stolen
5. เครื่องหมาย ( )
(parentbeses)
เครื่องหมาย ( ) parentheses ใช้คำอธิบายหรือข้อความข้างหน้า เช่นกันบางครั้งอาจให้รายละเอียดหรืออาจใช้ขยายความของคำหรือข้อความข้างหน้าได้เช่นกัน
เครื่องหมาย ( ) parentheses ใช้คำอธิบายหรือข้อความข้างหน้า เช่นกันบางครั้งอาจให้รายละเอียดหรืออาจใช้ขยายความของคำหรือข้อความข้างหน้าได้เช่นกัน
ตัวอย่าง
Here are several comments about the pros and cons (advantages and
disadvantages) of buying a - second - hand car from a dealer.
Here are several comments about the pros and cons (advantages and
disadvantages) of buying a - second - hand car from a dealer.
ในทีนี้คำในวงเล็บตามหลังคำว่า
pros and cons ทำให้เดาได้ว่า pros น่าจะแปล่า advantages ข้อดี cons คือ disadvantages ข้อเสียของการซื้อรถใช้แล้ว
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น